วันเสาร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555

เปิดรายละเอียดการวิจัย เมฆ บรรยากาศและมลภาวะของ NASA!


จากเว็บไซต์ขององค์การนาซ่า ที่่หนังสือพิมพ์ออนไลน์ และเพจออนไลน์บางแห่ง ได้อ้างอิงมา โดยมีข้อความข่าวตั้งคำถามเกี่ยวกับโครงการอวกาศดังกล่าวว่าจะกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงของประเทศไทยหรือไม่นั้น

ทีมงานได้ตรวจสอบข้อความจากหน้าเว็บไซต์ของนาซ่า แล้วพบรายละเอียดว่า โครงการสำรวจ องค์ประกอบเมฆและภูมิอากาศแห่งภูมิภาคดังกล่าวนี้ จะศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยการก่อตัวของก้อนเมฆ อุณหภูมิ ความชื้น และสังเกต "ระบบทิศไหลเวียนของมรสุมในภูมิภาคเอเซีย" ซึ่งจะเจาะลึกไปถึงชั้นบรรยากาศทั้งด้านเคมี ด้านการปล่อยก๊าซไบโอจี และความสัมพันธ์ระหว่างสภาพภูมิอากาศดังกล่าวกับอิทธิพลต่อภาคพื้นดิน เพื่อศึกษาได้ถึงวิวัฒนาการ  อีกทั้งการนำดาวเทียมทั้งภาคพื้นดินและอากาศมาใช้ช่วยประมวลผลเพื่อสามารถพยากรณ์อากาศ ก้อนเมฆ ทิศทาง ตลอดจนตรวจสอบได้ถึงผลกระทบมลภาวะในแต่ละภูมิภาคด้วย

การตรวจสอบดังกล่าวนั้นจะใช้เครื่องบินหลายประเภทเพื่่อใช้ในแต่ละวัตถุประสงค์ แต่ทั้งหมดนั้นจะใช้สำรวจอยู่ในระดับที่กำหนดไว้เท่านั้น ไม่ได้มีข้อความใดระบุเลยว่าขอบเขตการบินดังกล่าวจะบินเลยข้ามจากประเทศไทย ผ่านประเทศเพื่อนบ้านแล้วเข้าไปถึงประเทศจีนตอนใต้อย่างที่เผยแพร่กันแต่อย่างใด


หมายเหตุ ที่เว็บไซต์พันทิพย์ ก็มีผู้แปลบทความดังกล่าวไว้ จึงนำมาไว้เพื่อเป็นหลักฐาน


Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study (SEAC4RS) โครงการนี้คือ โครงการศึกษาองค์ประกอบ เมฆ อุณหภูมิ และความชื้น ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ (SEAC4RS)


 มีแผนดำเนินการในเดือนสิงหาคมและกันยายนปี 2012 การทดสอบนี้ถูกออกแบบมาเพื่อแก้ไขปัญหาที่สำคัญเกี่ยวกับผลกระทบของการปล่อยก๊าซในเอเชียบนเมฆ อุณหภูมิและความชื้นและคุณภาพของอากาศ เน้นเก็บข้อมูลเกี่ยวกับทิศทางของการไหลเวียนลมมรสุมในเอเชีย


 วัตถุประสงค์การทดลอง:
   ตรวจสอบการเคลื่อนที่ของลมมรสุมบริเวณที่ความกดอากาศสูงและมีลมแรงในพื้นที่เอเชีย
   ตรวจสอบผลกระทบของการเคลื่อนที่นำพาสารเคมี (UTLS)
   ตรวจสอบผลกระทบของละอองมลพิษและคุณสมบัติของเมฆชั้นcirrus
   ตรวจสอบความสำคัญของไมโครเพื่อ mesoscale-เมฆ, กระบวนการขนส่งและวิวัฒนาการเกี่ยวกับเมฆฝนในระดับภูมิภาค
การดำเนินงานของเครื่องบินอยู่ที่การเป็นอู่ตะเภา, ไทย (12 ° N 101 ° E)


 The Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study (SEAC4RS) is planned to take place in August and September of 2012. This experiment is designed to address key questions regarding the influence of Asian emissions on clouds, climate, and air quality. Observations will focus specifically on the role of the Asian monsoon circulation and convective redistribution in governing upper atmospheric composition and chemistry. Satellite observations suggest a strong impact of the Asian Monsoon on the composition of upper troposphere and lower stratosphere (UTLS) and a direct relationship to surface sources including pollution, biogenic emissions, and biomass burning. Attention will also be given to the influence of biomass burning and pollution on meteorological processes which in turn feed back into regional air quality. With respect to meteorological feedbacks, the opportunity to examine the impact of polluting aerosols on cloud properties and ultimately dynamics will be of particular interest. For more detailed information, please consult the SEAC4RS Planning Document.


Scientific Objectives:


   Investigate convective transport, especially in the region of Asian monsoon anticyclone
   Investigate the impact of convective transport on UTLS chemistry
   Investigate the impact of pollution aerosol on anvil cirrus properties
   Investigate the importance of micro-to-mesoscale cloud, transport and evolution processes on regional clouds and precipitation


To accomplish the goals of SEAC4RS, multiple aircraft are required. The NASA DC-8 will provide observations from near surface to 12 km and the NASA ER-2 will provide high altitude observations reaching into the lower stratosphere as well as important remote sensing observations connecting satellites with observations from lower flying aircraft and surface sites. The NSF GV will serve to sample convective outflow and to investigate chemical transport process associated with the anticyclone in the 12-14 km altitude range.


The aircraft operation is to be based in Utapao, Thailand (12°N 101° E).


Utaphao, Thailand


Proposed flight base and area of operations from Utaphao, Thailand.
Purple ring: range including ~8 hours flying with no loitering.
Turquoise ring: range including ~6 hours flying with ~2 hours loitering.




For further information on field deployment, see SEAC4RS at NCAR/EOL.


ผมคิดว่าโครงนี้เค้าได้ขออนุญาตหลายประเทศในเอเซียแล้วละ เพราะดูจากเส้นทางการบินแล้ว ผ่าน จีน เวียดนาม พม่า กัมพูชา อินเดีย‎ ลาว บอกชื่อไม่หมดให้ดูเส้นวงแหวนสีม่วงกับสีฟ้า ดูภาพประกอบด้านล่างจะเห็นได้ว่าต้องผ่านหลายประเทศจริงๆ ดูจากเส้นทางการบินโครงนี้จำเป็นต้องใช้สนามบินอู่ตะเภา เพราะตำแหน่งของประเทศไทยอยู่ตรงกลางของทวีปเอเซีย รวมทั้งสิ่งอำนวยความสะดวกและเอื้ออำนวยต่อการขนส่งอุปกรณ์ต่างๆ


ไม่เค้าใจว่าจะเอามาเป็นประเด็นทางการเมืองเพื่ออะไร ทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาลทำมัยไม่ชี้แจ้งให้ชัดเจน โครงการนี้มีประโยชน์มาก ทำให้เราเข้าใจชั้นบรรยายกาศในภูมิภาคของเรามากขึ้น จะทำให้ประชาชนสับสนจะปลุกกระแสอะไรหรือเปล่า เบื่อการเมืองน้ำเน่าจริงๆ