The unfair attacks against Thailand's former prime minister.
BY ROBERT AMSTERDAM | OCTOBER 27, 2010
The former Prime Minister of Thailand Thaksin Shinawatra was recently featured in a negative light in Foreign Policy ("Bad Exes," Oct. 1, 2010). As legal counsel to the prime minister, I would urge your readers to take a closer look at why he remains so popular among Thai voters.
I am privileged to represent the only leader in the history of Thailand since the establishment of the constitutional structure in Thailand in 1932 to complete a full four-year term of office (2001-2005). Prime Minister Thaksin and his Thai Rak Thai party were then re-elected with the first single-party parliamentary majority supported by unsurpassed numbers of the citizens he served. Having won seventy-five percent of the seats in the 2005 elections, his administration only ended after an illegal coup, led by generals and shadowy members of Thailand's elite, in September 2006. Today, four years after the coup, we are required to defend him from a well-oiled propaganda machine that defames him on a daily basis, with the full weight of a strangled media, rubber-stamp courts and absurd parliamentary resolutions at its disposal.
After all the years of defamation, Thaksin's popularity persists because of the unsurpassed results his administration achieved in economic and social policy, rescuing the country from a devastating financial crisis. His leadership brought the impoverished population of the Northeast out of feudal darkness and into the light of basic rights and citizenship, a measure that has been bitterly opposed by an entrenched elite out of the belief that some Thais are meant to enjoy more entitlements than others.
Writing in Newsweek in May 2010, Joel Schectman argued that despite his flaws, Thaksin actually represented the "high-water mark" for Thai democracy and accountable governance. Noting the major successes in rural development and universal healthcare, the author argued that "from 2001 until 2006 he incorporated full participation of the masses and offered the country its best shot ever at a functioning democracy."
Like any political leader, Thaksin has his opponents and critics. But unlike the typical partisan bickering of a normal country, Thaksin's opponents have launched a slew of unsubstantiated cases in an attempt to criminalize him. The only charge that ever stuck concerned his wife's participation in an auction of public land. Although the land sale involved the payment of fair price, Thaksin was convicted of "conflict of interest" based on the finding that his wife should not have been allowed to bid in the auction while her husband was serving as Prime Minister. This conviction, by the way, was not carried out by an independent tribunal, but rather by a panel specially chosen by the very people who removed him from office.
False legal cases are a common tactic of the current government, and Thaksin is far from the only target. Hundreds of Red Shirt protesters have been imprisoned on specious allegations, more than 100,000 websites deemed inconvenient to the government have been shut down, while various laws from the computer crimes act to the internal security act to the ongoing state of emergency decree have created an Orwellian nightmare. Opponents of Thaksin recently carried out a massacre of more than 80 peaceful protesters, bystanders, and even some journalists, firing upon them in an indiscriminate and disproportionate fashion from rooftop snipers. Ever since the coup, the country has been backsliding on nearly every measurement of freedom of speech, civic, and human rights. For instance, Thailand slipped from the rank of 59 to 84 on Transparency International's Corruption Perceptions Index between 2005 and 2009. Just yesterday, Reporters Without Bordersranked Thailand 153rd in its annual "World Press Freedom" index; before the coup, Thailand was ranked 66th. And yet, faced with the reality of Thailand's deplorable descent into authoritarianism, certain sections of the foreign media can still be convinced that things were so much worse back when Thaksin was prime minister and the country was still a democracy.
When looking at the current Thai political crisis and the role of Thaksin, readers of Foreign Policywould do well to look beyond the travel-poster depiction of the country, and start asking why the Thai regime is still so afraid of free speech and so reluctant to hold a real election.
เมื่อไม่นานมานี้ นิตยสาร Foreign Policy ได้นำเสนอเรื่องราวในทางลบเกี่ยวดับอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศไทย ทักษิณ ชินวัตร (อดีตผู้นำยอดแย่: 1 ตุลาคม 2553) ในฐานะที่ปรึกษาทางกฎหมายของอดีตนายกรัฐมนตรี ผมขอให้ผู้อ่านพิจารณาอย่างรอบคอบว่า เหตุใดทักษิณยังคงได้รับความนิยมจากผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในประเทศไทยอยู่
ผมรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้เป็นตัวแทนของอดีตผู้นำเพียงบุคคลเดียวในประวัติศาสตร์ไทย ตั้งแต่มีการเปลี่ยนการปกครองในปี 2475 ที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจนครบวาระ 4ปี (2544-2548) นายกรัฐมนตรีทักษิณและพรรคไทยรักไทยชนะการเลือกตั้ง โดยเป็นพรรคเดียวที่ได้รับเสียงส่วนมากในสภา จากคะแนนเสียงของประชาชนที่ทักษิณรับใช้อย่างท่วมท้น พรรคไทยรักไทยครองที่นั่งในสภาถึง 75เปอร์เซ็นต์ และในเดือนกันยายน ปี 2549
รัฐบาลของทักษิณถูกยึดอำนาจโดยการทำรัฐประหารที่ผิดกฎหมาย นำโดยเหล่านายพลและสมาชิกเงาของกลุ่มอำมาตย์ ปัจจุบัน 4 ปีหลังจากการทำรัฐประหาร เรายังต้องพยายามแก้ต่างให้กับทักษิณซึ่งถูกป้ายสีจากสื่อที่ไม่มีความเป็นกลาง ตรายางศาล และมติของรัฐสภาอยู่ทุกวัน สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนเครื่องจักรกลไกแห่งการโฆษณาประชาสัมพันธ์
หลักจากที่ถูกใส่ร้่ายป้ายสีมาเป็นเวลานาน ทักษิณยังคงเป็นที่นิยม ทั้งนี้เพราะความสำเร็จอย่างท่วมท้นของรัฐบาลภายใต้การนำของทักษิณ ในการใช้นโยบายบริหารประเทศทางสังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลให้ประเทศรอดพ้นจากวิกฤติทางเศรษฐกิจ การนำของทักษิณยังคงทำให้ประชาชนในภาคอีสานรอดพ้นจากยุคมืดศักดินา อันนำไปสู่การได้รับสิทธิพื้นฐานทางพลเรือนมากขึ้น ซึ่งทำให้บรรดากลุ่มอำมาตย์ที่เชื่อว่าคนไทยบางกลุ่มเท่านั้นที่มีสิทธิ์ควรจะได้รับโอกาสมากกว่าคนกลุ่มอื่นในประเทศต่อต้านแนวทางนี้อย่างขมขื่น
นาย Joel Schectman ได้เขียนบทความใน Newsweek เดือนพฤษภาคม ปี 2553 ว่า แม้ทักษิณจะมีข้อตำหนิแต่ “ทักษิณแสดงให้เห็นถึง “จุดสูงสุด” ของระบอบประชาธิปไตยและรัฐบาลที่มีความรับผิดชอบในประเทศไทย และความสำเร็จที่สำคัญในการบริหารงานคือ การพัฒนาชนบทและสวัสดิการรักษาพยาบาล ผู้เขียนยังกล่าวว่า ตั้งแต่ปี 2544 ไปจนถึงปี 2549 ทักษิณได้เปิดโอกาสให้คนส่วนใหญ่เข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งทำให้ระบอบประชาธิปไตยในประเทศมีประสิทธิภาพ”
เหมือนกับผู้นำทั่วไป ทักษิณมีผู้ที่ไม่เห็นด้วยและมีคนวิพากษ์วิจารณ์ แต่ต่างจากฝ่ายตรงข้ามในประเทศทั่วไป ตรงที่ฝ่ายตรงข้ามทักษิณพยายามที่จะหยิบคดีที่ไม่มีมูลมาฟ้องร้องกล่าวหาทักษิณ ข้อกล่าวหาเดียวที่มีคือ ภรรยาของทักษิณเข้าร่วมประมูลที่ดินสาธารณะ แม้ว่าการซื้อขายที่ดินนั้นจะเป็นราคาที่เหมาะสม แต่ทักษิณถูกตัดสินว่ามีความผิดในกรณีของ “ผลประโยชน์ทับซ้อน” เนื่องจากภรรยาของทักษิณไม่ควรที่จะได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมประมูลที่ดินในขณะที่สามีดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี การตัดสินคดีดังกล่าว ไม่ได้ถูกตัดสินโดยศาลที่มีความเป็นอิสระ แต่ถูกตัดสินโดยกลุ่มคนที่ถูกแต่งตั้งโดยคณะรัฐประหาร
การกล่าวหาอย่างผิดๆ ถือเป็นกลยุทธ์ของรัฐบาลชุดนี้ เพราะทักษิณไม่ใช่บุคคลเดียวที่ตกเป็นเป้าหมาย แต่ยังมีคนเสื้อแดงอีกนับร้อยที่ถูกคุมขังด้วยข้อกล่าวหาที่น่าสงสัย นอกจากนี้เวปไซต์อีกกว่า 100,000 เวปไซต์ที่ต่อต้านรัฐบาลยังถูกสั่งปิด ในขณะที่พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติความมั่นคงภายใน รวมถึงพระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในกรณีฉุกเฉินที่ยืดเยื้อยังได้ทำให้ประเทศไทยกลายเป็นรัฐโอเวลเลี่ยน (รัฐที่ประชาชนถูกควบคุมอย่างมาก)อีกด้วย เมื่อไม่นานมานี้ ฝ่ายตรงข้ามทักษิณได้สังหารหมู่ผู้ชุมนุมโดยสงบอีกกว่า 80ราย และประชาชนที่มุงดูเหตุการณ์ รวมถึงนักข่าว โดยการใช้มือปืนซุ่มอยู่บนดาดฟ้ายิงประชาชนอย่างไม่เลือกและเกินกว่าเหตุ ตั้งแต่การทำรัฐประหาร เสรีภาพทางการพูด สิทธิพลเรือน และสิทธิมนุษยชน ในประเทศไทยได้เสื่อมโทรมลงอย่างมาก อาทิเช่น จากการจัดลำดับของการคอร์รัปชั่นในประเทศไทยขององค์กร Transparency International ระหว่างปี 2549 ถึง 2552 ปรากฏว่าประเทศไทยตกลงไปอยู่ในอันดับที่ 59 จาก 84 และเมื่อวานนี้ กลุ่มนักข่าวไร้พรมแดนได้จัดอันดับให้ประเทศไทยอยู่ในลำดับที่ 153 จากการจัดลำดับ “เสรีภาพของสื่อในโลก” โดยก่อนหน้ารัฐประหาร ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 66 แม้จะทราบข้อเท็จจริงที่ว่าประเทศไทยมีรากฐานของอำนาจนิยม แต่สื่อต่างชาติบางสำนักยังคงเชื่อว่า ในสมัยทักษิณเป็นนายกรัฐมนตรีและประเทศไทยมีความเป็นประชาธิปไตยนั้นแย่กว่าในสมัยปัจจุบันมาก
เมื่อพิจารณาถึงวิกฤตการณ์การเมืองไทยและบทบาทของทักษิณแล้ว ผู้อ่านของ Foreign Policy ควรจะต้องจะต้องมองไปไกลกว่าภาพโปสเตอร์แหล่งท่องเที่ยวของประเทศไทย และจะต้องคำถามว่า เหตุใดรัฐบาลไทยยังคงกลัวเสรีภาพแห่งการพูด และคัดค้านการเลือกตั้งที่แท้จริง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น